โดยทางเราได้จัดทำโครงงานเรื่องงานเรื่อง การเเก้ปัญหาในการทิ้งขยะบนศาลาภายในโรงเรียน
ทางเราอยากให้ทุกท่านที่เข้ามาอ่านโครงงาน การเเก้ปัญหาในการทิ้งขยะบนศาลา
สามารถดูโครงงานผ่าน Youtube
โดยทางเราได้จัดทำโครงงานเรื่องงานเรื่อง การเเก้ปัญหาในการทิ้งขยะบนศาลาภายในโรงเรียน
ทางเราอยากให้ทุกท่านที่เข้ามาอ่านโครงงาน การเเก้ปัญหาในการทิ้งขยะบนศาลา
สามารถดูโครงงานผ่าน Youtube
ขั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ติดตามต่อ:http://krusumet.huaikrot.ac.th/computer-sci-m-4/comsci1_c5
การออกแบบขั้นตอนวิธี การตัดสินใจรดน้ําต้นไม้ของระบบรดน้ําต้นไม้อัตโนมัติ
1. อ่านค่าความชื้นของดิน
2. ให้ H แทนค่าความชื้น
3. ถ้า H < 0.1 แล้ว
3.1 ส่งสัญญาณเปิดน้ำ
ถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริง
3.2 ส่งสัญญาณปิดน้ำ
ขั้นตอนวิธีดังกล่าวเป็นการตัดสินใจเพียงครั้งเดียว เพื่อความสมบูรณ์ของขั้นตอนวิธี จะต้องให้ระบบ
รดน้ำต้นไม้มีการอ่านค่าและส่งสัญญาณควบคุมสม่ำเสมอ จึงต้องให้มีการทำงานซ้ำๆ ต่อเนื่องกันไป ดังนี้
https://sites.google.com/a/kjn.ac.th/withyakar-khanwn/bth-thi-5-kar-xxkbaeb-khan-txn-withi
รูปภาพจาก:http://krusumet.huaikrot.ac.th/computer-sci-m-4/comsci1_c5
การดำเนินงาน ในขั้นตอนการดำเนินงาน จะเป็นขั้นตอนที่ต้องพัฒนาชิ้นงาน หรือดำเนินกิจกรรม เพื่อให้ได้งานสำหรับส่งมอบ โดยขั้นตอนการพัฒนา แบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
1. การเตรียมการ ในการดำเนินงานตามกิจกรรมแต่ละกิจกรรมที่ได้วางแผนไว้ ต้องเตรียมทรัพยากรให้พร้อมตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนการวางแผน
2. การลงมือพัฒนา ในขั้นตอนนี้ ควรมีการบันทึกความเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ
3. การทดสอบและแก้ไข เป็นการทดสอบผลลัพธ์ว่าตรงตามวัตถุประสงค์และขอบเขตหรือไม่ หากไม่ตรงให้แก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ตามต้องการ นอกจากนี้ผู้จัดทำโครงงานควรมีการจดบันทึกปัญหาและอุปสรรค์ต่างๆ ที่พบ รวมถึงวิธีการแก้ไข เพื่อนำไปปรับปรุงการพัฒนาโครงงานต่อไป
ข้อมูลมาจาก;http://computingaddress.blogspot.com/2018/11/11.html
หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบครอบ รัดกุม
1. ศึกษาเอกสาร และศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงาน ขั้นตอนนี้ ควรเริ่มจากการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม และศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น
2. กำหนดผลสำเร็จของโครงงาน เป็นการกำหนดสิ่งที่จะส่งมอบและเวลาในการส่งมอบให้ชัดเจน
3. แบ่งการดำเนินการออกเป็นกิจกรรมย่อย ในการพัฒนาโครงงานนั้น ต้องแบ่งการทำงานออกเป็นกิจกรรมย่อยให้ชัดเจน เช่น ขั้นวางแผน , ขั้นการสำรวจ , ขั้นศึกษาเทคนิคที่เกี่ยวข้อง , ขั้นพัฒนาโปรแกรม , ขั้นการทดสอบและปรับปรุง และ ขั้นจัดทำเอกสาร เป็นต้น
4. กำหนดขั้นตอนก่อนหลังของแต่ละกิจกรรม เป็นการนำขั้นตอนต่างๆ ในข้อที่ 3 มาจัดลำดับความสำคัญ แล้วเรียงลำดับก่อนหลัง เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โดยอาจเขียนเป็นแผนภูมิก็ได้ เช่น
ขอบเขตการวิจัย (Delimitation) หมายถึง การจำกัดหรือกำหนดขอบเขตให้แก่การวิจัย ไม่ควรนำไปปนกับข้อจำกัดของการวิจัย (Limitation) ซึ่งมักจะกล่าวถึงในตอนท้ายผลการกำหนดขอบเขต การวิจัยนั้น อาจกำหนดได้หลายอย่าง เช่น
1. ขอบเขตที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่ศึกษา
2. ขอบเขตที่เกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
3. ขอบเขตที่เกี่ยวกับเวลา
4. ขอบเขตที่เกี่ยวกับวิธีการรวบรวมข้อมูล
5. ขอบเขตที่เกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องศึกษา
การเขียนขอบเขตของการวิจัย จะต้องระบุให้ชัดเจน และถ้าเป็นไปได้ควรให้เหตุผลไว้ด้วยว่า ทำไมจึงกำหนดขอบเขตไว้เช่นนั้น
ตัวอย่าง
หัวข้อวิจัย : การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้ชุดการสอนชุดมินิคร์อสกับเรียนโดยการสอนตามคู่มือครูของ สสวท.
ติดตามต่อ
โดยทางเราได้จัดทำโครงงานเรื่องงานเรื่อง การเเก้ปัญหาในการทิ้งขยะบนศาลาภายในโรงเรียน ทางเราอยากให้ทุกท่านที่เข้ามาอ่านโครงงาน การเเก้ปัญห...